ชมรมผู้สูงอายุ เครือข่ายสมาคมสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ประจำอำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ ประธานชมรมฯ..........นายณฐกร ประเสริฐ โทร.087-8768530 รองประธานชมรมฯ....นายทองคำ ศรีเลิศ โทร.080-4727465 รองประธานชมรมฯ....นายพรหม บุญเยี่ยม โทร.087-2401710 เลขานุการชมรมฯ....นางศรีสนม วรรณวงศ์ โทร.081-1643413
วันจันทร์ที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
นั่งสมาธิด้วยตนเองที่บ้านกับวัดป่าโนนกุดหล่ม
วัดป่าโนนกุดหล่ม เลขที่ ๙๒ บ้านโนนสังข์
หมู่ที่ ๙ ต.โพนเขวา อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ
คลิกที่นี่เพื่อเข้าไปฟังธรรมะจากพระอาจารย์ราวี
หมู่ที่ ๙ ต.โพนเขวา อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ
คลิกที่นี่เพื่อเข้าไปฟังธรรมะจากพระอาจารย์ราวี
วันเสาร์ที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
ประมวลภาพกิจกรรม
บรรยากาศการประชุมประธานชมรมผู้สูงอายุ/เลขานุการชมรมผู้สูงอายุเครือข่ายสาขาฯทุกตำบลในสังกัดพื้นที่รับผิดชอบของ สสอ.ขุขันธ์ เข้าร่วมประชุมในวันพฤหัสบดีที่ 16 พฤษภาคม 2556 เวลา 09.00 น. ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอขุขันธ์ เครือข่ายสาขาสมาคมสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ประจำอำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ มีภารกิจจำเป็นต้องประชุมพบปะ และปรึกษาหารือเกี่ยวกับการดำเนินงานของเครือข่ายสาขาสมาคมสภาผู้สูงอายุฯ ประจำปี 2556 เพื่อให้สามารถดำเนินกิจกรรมร่วมกันได้อย่างเป็นรูปธรรม และมีความต่อเนื่อง โดยมี นายณฐกร ประเสริฐ
เป็นประธานกรรมการกลาง
เครือข่ายสาขาสมาคมสภาผู้สูงอายุฯ ประจำอำเภอขุขันธ์
วันศุกร์ที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
นโยบายสมาคมสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทยฯ ปี พ.ศ. 2554-2558
Download
>>>นโยบายสมาคมสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทยฯ ปี พ.ศ. 2554-2558
>>>ประกาศสาขาสมาคมสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทยประจำจังหวัดศรีสะเกษ เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน(29ธ.ค.2554)
>>>ระเบียบสมาคมสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2552
ดาวน์โหลดเอกสาร
เอกสารการประชุมที่สำคัญ
ร่างหนังสือเชิญประชุมคณะกรรมการเครือข่ายฯประจำอำเภอขุขันธ์
ร่างหนังสือขอบริจาคทรัพย์ในการประชุม
การชุมใหญ่สามัญประจำปี 2556(ครั้งที่ 6/2556 วันที่10 เม.ย. 2566)
ใบสมัครสมาชิก
ใบสมัครสมาชิกสาขาสมาคมสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทย(ล่าสุด)
แบบกรอก / คำขอต่างๆ
แบบคำขอรับเงินสงเคราะห์ในการจัดการศพผู้สูงอายุตามประเพณี
แบบใบสำคัญรับเงินค่าจัดการศพผู้สูงอายุตามประเพณี
แบบรายงานผลการสงเคราะห์ในการจัดการศพผู้สูงอายุตามประเพณี
แบบสำรวจรายชื่อสมาชิกผู้มีอายุตั้งแต่ 95 ปีขึ้นไป จ.ศรีสะเกษ
แบบกรอกประวัติเพื่อคัดเลือกผู้สูงอายุดีเด่นของสมาคมฯ
แบบสำรวจทะเบียนรายชื่อชมรมผู้สูงอายุ จังหวัดศรีสะเกษ
โปรแกรมใช้งานที่จำเป็น
แบบอักษรไทยสารบรรณ ๙ สำหรับงานพิมพ์เอกสารบนคอมพิวเตอร์
โปรแกรมโทรศัพท์ แชทผ่านอินเตอร์เนต Skype3.8Setup.exe และ SkypeSetup_5.6.59.110.msi
โปรแกรมพิมพ์ข้อความบนไฟล์PDF FoxitPhantomPDFV-2211103
โปรแกรมป้องกันไวรัส AvastAntiVirus6011.rar
ร่างหนังสือเชิญประชุมคณะกรรมการเครือข่ายฯประจำอำเภอขุขันธ์
ร่างหนังสือขอบริจาคทรัพย์ในการประชุม
การชุมใหญ่สามัญประจำปี 2556(ครั้งที่ 6/2556 วันที่10 เม.ย. 2566)
ใบสมัครสมาชิก
ใบสมัครสมาชิกสาขาสมาคมสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทย(ล่าสุด)
แบบกรอก / คำขอต่างๆ
แบบคำขอรับเงินสงเคราะห์ในการจัดการศพผู้สูงอายุตามประเพณี
แบบใบสำคัญรับเงินค่าจัดการศพผู้สูงอายุตามประเพณี
แบบรายงานผลการสงเคราะห์ในการจัดการศพผู้สูงอายุตามประเพณี
แบบสำรวจรายชื่อสมาชิกผู้มีอายุตั้งแต่ 95 ปีขึ้นไป จ.ศรีสะเกษ
แบบกรอกประวัติเพื่อคัดเลือกผู้สูงอายุดีเด่นของสมาคมฯ
แบบสำรวจทะเบียนรายชื่อชมรมผู้สูงอายุ จังหวัดศรีสะเกษ
โปรแกรมใช้งานที่จำเป็น
แบบอักษรไทยสารบรรณ ๙ สำหรับงานพิมพ์เอกสารบนคอมพิวเตอร์
โปรแกรมโทรศัพท์ แชทผ่านอินเตอร์เนต Skype3.8Setup.exe และ SkypeSetup_5.6.59.110.msi
โปรแกรมพิมพ์ข้อความบนไฟล์PDF FoxitPhantomPDFV-2211103
โปรแกรมป้องกันไวรัส AvastAntiVirus6011.rar
สิทธิผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุได้รับสิทธิ ตามมาตรา 11 แห่งพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 ดังนี้
มาตรา 11 ผู้สูงอายุมีสิทธิได้รับการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนในด้านต่างๆ ดังนี้
(1) การบริการทางการแพทย์และการสาธารณสุขที่จัดไว้โดยให้ความสะดวกและรวดเร็วแก่ผู้สูงอายุเป็นกรณีพิเศษ
(2) การศึกษา การศาสนา และข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต
(3) การประกอบอาชีพหรือฝึกอาชีพที่เหมาะสม
(4) การพัฒนาตนเองและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม การรวมกลุ่มในลักษณะเครือข่ายหรือชุมชน
(5) การอำนวยความสะดวกและความปลอดภัยโดยตรงแก่ผู้สูงอายุในอาคาร สถานที่ ยานพาหนะหรือการบริการสาธารณะอื่น
(6) การช่วยเหลือด้านค่าโดยสารยานพาหนะตามความเหมาะสม
(7) การยกเว้นค่าเข้าชมสถานที่ของรัฐ
(8) การช่วยเหลือผู้สูงอายุซึ่งได้รับอันตรายจากการถูกทารุณกรรมหรือถูกแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบด้วยกฎหมาย หรือถูกทอดทิ้ง
(9) การให้คำแนะนำ ปรึกษา ดำเนินการอื่นที่เกี่ยวข้องในทางคดี หรือในทางการแก้ไขปัญหาครอบครัว
(10) การจัดที่พักอาศัย อาหารและเครื่องนุ่งห่มให้ตามความเป็นจำเป็นอย่างทั่วถึง
(11) การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพเป็นรายเดือนอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม
(12) การสงเคราะห์ในการจัดการศพตามประเพณี
(13) การอื่นตามที่คณะกรรมการประกาศกำหนด
Download
>>> คู่มือสิทธิผู้สูงอายุ
>>> สิทธิ์ผู้สูงอายุ(เอกสารไมโครซอฟต์เวิร์ด)
มาตรา 11 ผู้สูงอายุมีสิทธิได้รับการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนในด้านต่างๆ ดังนี้
(1) การบริการทางการแพทย์และการสาธารณสุขที่จัดไว้โดยให้ความสะดวกและรวดเร็วแก่ผู้สูงอายุเป็นกรณีพิเศษ
(2) การศึกษา การศาสนา และข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต
(3) การประกอบอาชีพหรือฝึกอาชีพที่เหมาะสม
(4) การพัฒนาตนเองและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม การรวมกลุ่มในลักษณะเครือข่ายหรือชุมชน
(5) การอำนวยความสะดวกและความปลอดภัยโดยตรงแก่ผู้สูงอายุในอาคาร สถานที่ ยานพาหนะหรือการบริการสาธารณะอื่น
(6) การช่วยเหลือด้านค่าโดยสารยานพาหนะตามความเหมาะสม
(7) การยกเว้นค่าเข้าชมสถานที่ของรัฐ
(8) การช่วยเหลือผู้สูงอายุซึ่งได้รับอันตรายจากการถูกทารุณกรรมหรือถูกแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบด้วยกฎหมาย หรือถูกทอดทิ้ง
(9) การให้คำแนะนำ ปรึกษา ดำเนินการอื่นที่เกี่ยวข้องในทางคดี หรือในทางการแก้ไขปัญหาครอบครัว
(10) การจัดที่พักอาศัย อาหารและเครื่องนุ่งห่มให้ตามความเป็นจำเป็นอย่างทั่วถึง
(11) การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพเป็นรายเดือนอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม
(12) การสงเคราะห์ในการจัดการศพตามประเพณี
(13) การอื่นตามที่คณะกรรมการประกาศกำหนด
Download
>>> คู่มือสิทธิผู้สูงอายุ
>>> สิทธิ์ผู้สูงอายุ(เอกสารไมโครซอฟต์เวิร์ด)
ปฏิญญาผู้สูงอายุไทย
ปฏิญญาผู้สูงอายุไทยประกาศใช้เมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2542 เป็นวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมายุครบ 72 พรรษา ประกอบกับองค์การสหประชาชาติได้ประกาศให้เป็นปีสากลว่าด้วยผู้สูงอายุ
รัฐบาล องค์กรเอกชน ประชาชน และสถาบันต่างๆ ได้ตระหนักถึงศักดิ์ศรีและคุณค่าของผู้สูงอายุ ซึ่งได้ทำประโยชน์ในฐานะ "ผู้ให้" แก่สังคมมาโดยตลอด ดังนั้นจึงควรได้รับผลในฐานะเป็น "ผู้รับ" จากสังคมด้วย
ปฏิญญาผู้สูงอายุไทยจึงเป็นพันธกรณีเพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ได้รับการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิ ซึ่งได้กำหนดสาระสำคัญไว้ดังนี้
ข้อ 1 ผู้สูงอายุต้องได้รับปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่าและศักดิ์ศรี ได้รับการพิทักษ์และคุ้มครองให้พ้นจากการถูกทอดทิ้ง และละเมิดสิทธิโดยปราศจากการเลือกปฏบัติ โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่ไม่สามารถพึ่งตนเองได้และผู้พิการที่สูงอายุ
ข้อ 2 ผู้สูงอายุควรอยู่กับครอบครัวโดยได้รับความเคารพรัก ความเข้าใจ ความเอื้ออาทร การดูแลเอาใจใส่ การยอมรับ บทบาทของกันและกันระหว่างสมาชิกในครอบครัว เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์อันดีในการอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุข
ข้อ 3 ผู้สูงอายุควรได้รับโอกาสในการศึกษาเรียนรู้ และพัฒนาศักยภาพของตนเองอย่างต่อเนื่อง เข้าถึงข้อมูลข่าวสารและบริการทางสังคมอันเป็นประโยชน์ในการดำรงชีวิต เข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงของสังคมรอบด้าน เพื่อสามารถปรับบทบาทของตนให้สมวัย
ข้อ 4 ผู้สูงอายุควรได้ถ่ายทอดความรู้ประสบการณ์ให้สังคม มีโอกาสได้ทำงานที่เหมาะสมกับวัยและตามความสมัครใจ โดยได้รับค่าตอบแทนที่เป็นธรรม เพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจและเห็นชีวิตมีคุณค่า
ข้อ 5 ผู้สูงอายุควรได้เรียนรู้ในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ต้องมีหลักประกันและสามารถเข้าถึงบริการด้านสุขภาพอนามัยอย่างครบวงจรโดยเท่าเทียมกัน รวมทั้งได้รับการดูแลจนถึงวาระสุดท้ายของชีวิตอย่างสงบตามคตินิยม
ข้อ 6 ผู้สูงอายุส่วนใหญ่พึ่งพาตนเองได้ สามารถช่วยเหลือครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในสังคม เป็นแหล่งภูมิปัญญาของคนรุ่นหลัง มีการเข้าสังคม มีนันทนาการที่ดี และมีเครือข่ายช่วยเหลือซึ่งกันและกันในชุมชน
ข้อ 7 รัฐโดยการมีส่วนร่วมขององค์กรภาคเอกชน ประชาชน สถาบันสังคมต้องกำหนดนโยบายและแผนหลักด้านผู้สูงอายุ ส่งเสริมและประสานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องให้บรรลุผลตามเป้าหมาย
ข้อ 8 รัฐโดยการมีส่วนร่วมขององค์กรภาคเอกชน ประชาชน สถาบันสังคมต้องตรากฎหมายว่าด้วยผู้สูงอายุ เพื่อเป็นหลักประกันและการบังคับใช้ในการพิทักษ์สิทธิ คุ้มครองสวัสดิภาพ และจัดสวัสดิการแก่ผู้สูงอายุ
ข้อ 9 รัฐโดยการมีส่วนร่วมขององค์กรภาคเอกชน ประชาชน สถาบันสังคมต้องรณรงค์ปลูกฝังค่านิยมให้สังคมตระหนักถึงคุณค่าของผู้สูงอายุตามวัฒนธรรมไทยที่เน้นความกตัญญูกตเวทีและเอื้ออาทรต่อกัน
รัฐบาล องค์กรเอกชน ประชาชน และสถาบันต่างๆ ได้ตระหนักถึงศักดิ์ศรีและคุณค่าของผู้สูงอายุ ซึ่งได้ทำประโยชน์ในฐานะ "ผู้ให้" แก่สังคมมาโดยตลอด ดังนั้นจึงควรได้รับผลในฐานะเป็น "ผู้รับ" จากสังคมด้วย
ปฏิญญาผู้สูงอายุไทยจึงเป็นพันธกรณีเพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ได้รับการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิ ซึ่งได้กำหนดสาระสำคัญไว้ดังนี้
ข้อ 1 ผู้สูงอายุต้องได้รับปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่าและศักดิ์ศรี ได้รับการพิทักษ์และคุ้มครองให้พ้นจากการถูกทอดทิ้ง และละเมิดสิทธิโดยปราศจากการเลือกปฏบัติ โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่ไม่สามารถพึ่งตนเองได้และผู้พิการที่สูงอายุ
ข้อ 2 ผู้สูงอายุควรอยู่กับครอบครัวโดยได้รับความเคารพรัก ความเข้าใจ ความเอื้ออาทร การดูแลเอาใจใส่ การยอมรับ บทบาทของกันและกันระหว่างสมาชิกในครอบครัว เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์อันดีในการอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุข
ข้อ 3 ผู้สูงอายุควรได้รับโอกาสในการศึกษาเรียนรู้ และพัฒนาศักยภาพของตนเองอย่างต่อเนื่อง เข้าถึงข้อมูลข่าวสารและบริการทางสังคมอันเป็นประโยชน์ในการดำรงชีวิต เข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงของสังคมรอบด้าน เพื่อสามารถปรับบทบาทของตนให้สมวัย
ข้อ 4 ผู้สูงอายุควรได้ถ่ายทอดความรู้ประสบการณ์ให้สังคม มีโอกาสได้ทำงานที่เหมาะสมกับวัยและตามความสมัครใจ โดยได้รับค่าตอบแทนที่เป็นธรรม เพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจและเห็นชีวิตมีคุณค่า
ข้อ 5 ผู้สูงอายุควรได้เรียนรู้ในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ต้องมีหลักประกันและสามารถเข้าถึงบริการด้านสุขภาพอนามัยอย่างครบวงจรโดยเท่าเทียมกัน รวมทั้งได้รับการดูแลจนถึงวาระสุดท้ายของชีวิตอย่างสงบตามคตินิยม
ข้อ 6 ผู้สูงอายุส่วนใหญ่พึ่งพาตนเองได้ สามารถช่วยเหลือครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในสังคม เป็นแหล่งภูมิปัญญาของคนรุ่นหลัง มีการเข้าสังคม มีนันทนาการที่ดี และมีเครือข่ายช่วยเหลือซึ่งกันและกันในชุมชน
ข้อ 7 รัฐโดยการมีส่วนร่วมขององค์กรภาคเอกชน ประชาชน สถาบันสังคมต้องกำหนดนโยบายและแผนหลักด้านผู้สูงอายุ ส่งเสริมและประสานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องให้บรรลุผลตามเป้าหมาย
ข้อ 8 รัฐโดยการมีส่วนร่วมขององค์กรภาคเอกชน ประชาชน สถาบันสังคมต้องตรากฎหมายว่าด้วยผู้สูงอายุ เพื่อเป็นหลักประกันและการบังคับใช้ในการพิทักษ์สิทธิ คุ้มครองสวัสดิภาพ และจัดสวัสดิการแก่ผู้สูงอายุ
ข้อ 9 รัฐโดยการมีส่วนร่วมขององค์กรภาคเอกชน ประชาชน สถาบันสังคมต้องรณรงค์ปลูกฝังค่านิยมให้สังคมตระหนักถึงคุณค่าของผู้สูงอายุตามวัฒนธรรมไทยที่เน้นความกตัญญูกตเวทีและเอื้ออาทรต่อกัน
บทบัญญัติคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
บทบัญญัติคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มีดังต่อไปนี้
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

เป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกที่มีบทบัญญัติกล่าวถึงผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นบทบัญญัติภายใต้หมวด 5 ว่าด้วยแนวนโยบายแห่งรัฐดังนี้
หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
- มาตรา 81 รัฐพึงช่วยเหลือและสงเคราะห์ผู้สูงอายุและผู้พิการให้มีสุขภาพ กำลังใจ และความหวังในชีวิต เพื่อสามารถดำรงตนอยู่ได้ตามสมควร

มีบทบัญญัติเกี่ยวกับผู้สูงอายุไว้ดังนี้
หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
- มาตรา 54 บุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์และไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ มีสิทธิได้รับความช่วยเหลือจากรัฐ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ
- มาตรา 80 รัฐต้องคุ้มครองและพัฒนาเด็กและเยาวชน ส่งเสริมความเสมอภาคของหญิงและชาย เสริมสร้างและพัฒนาความเป็นปึกแผ่นของครอบครัว และความเข้มแข็งของชุมชน
รัฐต้องสงเคราะห์คนชรา ผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพและผู้ด้อยโอกาส ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีและพึ่งตนเองได้

มีบทบัญญัติที่บรรจุหลักการให้ความช่วยเหลือผู้สูงอายุไว้ดังนี้
หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย
- มาตรา 40 บุคคลย่อมมีสิทธิในกระบวนการยุติธรรม ดังต่อไปนี้
(6) เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ หรือผู้พิการหรือทุพพลภาพ ย่อมมีสิทธิได้รับความคุ้มครองในการดำเนินกระบวนพิจารณาคดีอย่างเหมาะสม และย่อมมีสิทธิได้รับการปฏิบัติที่เหมาะสมในคดีที่เกี่ยวกับความรุนแรงทางเพศ
หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
- มาตรา 53 บุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์และไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ มีสิทธิได้รับสวัสดิการ สิ่งอำนวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะอย่างสมศักดิ์ศรี และความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ
- มาตรา 80 รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านสังคม การสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรม ดังต่อไปนี้
(1) คุ้มครองและพัฒนาเด็กและเยาวชน สนับสนุนการอบรมเลี้ยงดู และให้การศึกษาปฐมวัย ส่งเสริมความเสมอภาคของหญิงและชาย เสริมสร้างและพัฒนาความเป็นปึกแผ่นของสถาบันครอบครัวและชุมชน รวมทั้งต้องสงเคราะห์และจัดสวัสดิการให้แก่ผู้สูงอายุ ผู้ยากไร้ ผู้พิการ หรือทุพพลภาพ และผู้อยู่ในสภาวะยากลำบาก ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและพึ่งพาตนเองได้
- มาตรา 84 รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านเศรษฐกิจ ดังต่อไปนี้
(4) จัดให้มีการออมเพื่อการดำรงชีพในยามชราแก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ของรัฐอย่างทั่วถึง
ที่มา : สำนักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ http://www.oppo.opp.go.th/pages/law/law_07.html
ที่มา : สำนักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ http://www.oppo.opp.go.th/pages/law/law_07.html
ระเบียบและสิทธิประโยชน์
>>> ปฏิญญาผู้สูงอายุไทย
>>> พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546
>>> พระราชบัญญัติ ผู้สูงอายุ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2553
>>> สิทธิผู้สูงอายุ ตาม พ.ร.บ.ฯ 2546
>>> ระเบียบสมาคมสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทย ว่าด้วยเกณฑ์มาตรฐานชมรมผู้สูงอายุในเครือข่ายสมาคมสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทยฯ พ.ศ.2552
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)